สุขภาพฯ
คุณต้องการสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านใด
คุณต้องการสร้างการเปลี่ยนแปลงด้านใด
ลดความเสี่ยงด้านสุขภาพด้วยตัวเอง
คุณต้องการลดความเสี่ยงสุขภาพทางใด
คุณต้องการลดความเสี่ยงสุขภาพทางใด
ลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อม (Environmental risk)
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
ระดับเสียงในพื้นที่ริมถนนเฉลี่ยลดลง
เดซิเบล
ความเข้มข้นฝุ่นละออง (PM10) เฉลี่ยรายปีในพื้นที่ที่ลดลง
หน่วยดัชนีคุณภาพอากาศ
ความเข้มข้นฝุ่นละออง (PM2.5) เฉลี่ยรายปีในพื้นที่ที่ลดลง
หน่วยดัชนีคุณภาพอากาศ
สัดส่วนประชากรที่เข้าถึงน้ำสะอาดเพิ่มขึ้น
คน
พื้นที่ที่มีการปนเปื้อนจากเชื้อโรคที่เกิดจากสิ่งขับถ่ายของมนุษย์และสัตว์ลดลง
ตารางกิโลเมตร
พื้นที่ที่ปนเปื้อนสารเคมีที่เป็นพิษและของเสียจากอุตสาหกรรมที่ปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมลดลง
ตารางกิโลเมตร
ลดความเสี่ยงจากพฤติกรรม (Behavior risk)
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการต่ำกว่ามาตรฐาน (Malnutrition) ลดลง
คน
จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่มีภาวะน้ำหนักเกินลดลง
คน
จำนวนคนอายุ 15 ปี ขึ้นไปที่มีค่า BMI ≥ 25 ขึ้นไป ลดลง
คน
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่ลดลง
คน
ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ดื่มสุราลดลง
คน
จำนวนผู้สวมหมวกนิรภัยของผู้ใช้รถจักรยานยนต์ (รวมผู้ขับขี่และผู้โดยสาร) ที่เพิ่มขึ้น
คน
จำนวนผู้ขับขี่และผู้โดยสารตอนหน้าของรถยนต์ที่คาดเข็มขัดนิรภัยเพิ่มขึ้น
คน
จำนวนประชากรที่เมาแล้วขับลดลง
คน
เวลาที่ใช้ไปในพฤติกรรมแน่นิ่งต่อวันลดลง (โดย พฤติกรรมที่เข้าข่ายการแน่นิ่ง อาทิ นั่งอยู่บนรถขณะรถติด นั่งทำงาน นั่งฟังประชุมเสวนา นั่งแชท นั่งเรียน)
ชั่วโมง
ประชากรที่นอนหลับเพียงพอตามวัยเพิ่มขึ้น
คน
ประชากรที่ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์กับคู่นอนที่มีความเสี่ยงสูงเพิ่มขึ้น
คน
ส่งเสริมการเข้าถึงการบริการทางการแพทย์ที่ปลอดภัย
การเข้าถึงบริการที่เกี่ยวกับการป้องกันโรค
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
ร้อยละของประชากรที่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
ร้อยละ
ร้อยละของประชากรที่ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี จำแนกตามช่วงอายุ
ร้อยละ
จำนวนประชากรที่ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (อาทิ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง เป็นต้น) อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งเพิ่มขึ้น
คน
จำนวนประชากรที่ได้รับการคัดกรองโรค HIV เพิ่มขึ้น
คน
จำนวนผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าที่ได้รับการคัดกรองเพิ่มขึ้น
คน
จำนวนผู้ที่ได้รับการติดตามเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นโรคจิตเวชซ้ำ (relapse) และป้องกันการฆ่าตัวตาย เพิ่มขึ้น
คน
สัดส่วนผู้ป่วยจิตเวชที่กลับมารับการรักษาต่อเนื่องครบถ้วน
ร้อยละ
การเข้าถึงบริการรักษาโรค
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
สัดส่วนคนที่เข้าถึงยา
ร้อยละ
จำนวนประชากรที่ไม่สามารถเข้าถึงการรักษาที่ลดลง
คน
สัดส่วนผู้ป่วยที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลและไม่ได้พบแพทย์ลดลง
คน
ลดอัตราการตายจากโรคต่างๆ หรืออุบัติเหตุ
ลดการตายก่อนวัยอันควรจากโรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดที่ลดลง
คน
จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งที่ลดลง
คน
จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานที่ลดลง
คน
จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคระบบทางเดินหายใจที่ลดลง
คน
ลดการสูญเสียจากการติดเชื้อ HIV
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนผู้ติดโรคที่ติดโรค HIV รายใหม่น้อยลง (HIV incidence) ที่ลดลง
คน
จำนวนผู้ป่วยโรค HIV (HIV prevalence) ลดลง
คน
ลดผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุตามท้องถนน
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางท้องถนนที่น้อยลง
คน
ลดการสูญเสียจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนน้อยลง
คน
จำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนน้อยลง
คน
จำนวนผู้ติดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนรายใหม่น้อยลง (New cases of vaccine-preventable diseases)
คน
ลดการสูญเสียจากการคลอดบุตร
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนผู้เสียชีวิตของทารกที่ลดลง
คน
จำนวนผู้เสียชีวิตของมารดาที่ลดลง
คน
แก้ปัญหาบุคลากรและอุปกรณ์ทางการแพทย์ไม่เพียงพอและไม่ทั่วถึง
ลดระยะเวลาที่ต้องรอสำหรับการเข้าถึงบริการทางการแพทย์
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
ระยะเวลาที่รอการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
ชั่วโมง
ระยะเวลาที่รอการรักษาแบบผู้ป่วยใน
ชั่วโมง
แก้ปัญหาบุคลากรทางสุขภาพไม่เพียงพอ
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนแพทย์ต่อจำนวนประชากร 1000 คน
คน/ประชากร 1000 คน
อัตราส่วนแพทย์เฉพาะทางต่อจำนวนประชากร 1000 คน
คน/ประชากร 1000 คน
จำนวนพยาบาลต่อจำนวนประชากร 1000 คน
คน/ประชากร 1000 คน
จำนวนเตียงที่พยาบาลต้องดูแลต่อพยาบาล 1 คน
เตียง/คน
จำนวนทันตแพทย์ต่อจำนวนประชากร 1000 คน
คน/ประชากร 1000 คน
จำนวนเภสัชกรต่อจำนวนประชากร 1000 คน
คน/ประชากร 1000 คน
แก้ปัญหาจำนวนอุปกรณ์ทางสุขภาพไม่เพียงพอ
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จํานวนเตียงโรงพยาบาลต่อประชากร 1,000 คน
คน/ประชากร 1000 คน
อัตราการครองเตียงของผู้ป่วย
ร้อยละ
ระยะเวลานอนโรงพยาบาลเฉลี่ย
วัน
จำนวนเครื่อง CT Scan ต่อประชากร 1000 คน
เครื่อง/ประชากร 1000 คน
จำนวนเครื่อง MRI ต่อประชากร 1000 คน
เครื่อง/ประชากร 1000 คน
จำนวนเครื่อง Mammography ต่อประชากร 1000 คน
เครื่อง/ประชากร 1000 คน
จำนวนเครื่อง Radiation therapy ต่อประชากร 1000 คน
เครื่อง/ประชากร 1000 คน
ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนบุคลากรทางสุขภาพเปรียบเทียบระหว่างภาครัฐและเอกชน
คน/ประชากร 1000 คน
ระยะเวลาที่รอการรักษาแบบผู้ป่วยนอกเปรียบเทียบระหว่างภาครัฐและเอกชน
ชั่วโมง
ระยะเวลาที่รอการรักษาแบบผู้ป่วยในเปรียบเทียบระหว่างภาครัฐและเอกชน
ชั่วโมง
การกระจายของบุคลากรด้านสาธารณสุข จำแนกตามรายพื้นที่
คน/ประชากร 1000 คน
จำนวนประชากรที่รับบริการทางสุขภาพนอกเขตพื้นที่ที่ลดลง
คน
ระยะเวลาที่รอการรักษาแบบผู้ป่วยนอกเปรียบเทียบระหว่างพื้นที่
ชั่วโมง
ระยะเวลาที่รอการรักษาแบบผู้ป่วยในเปรียบเทียบระหว่างพื้นที่
ชั่วโมง
ลดภาระทางการเงินและความเสี่ยงจากการรักษาพยาบาล
ลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพต่อหัวต่อปีที่ลดลง
บาท
สัดส่วนค่าใช้จ่ายสุขภาพต่อค่าใช้จ่ายทั้งหมด
บาท/ปี
ลดความเสี่ยงที่ผู้ใกล้ชิดที่จะป่วยจากการดูแลผู้ป่วย
สร้างหลักประกันทางสุขภาพ
ตัวชี้วัดแนะนำ
หน่วยชี้วัด
จำนวนประชากรที่ไม่เข้าถึงสิทธิประกันสุขภาพลดลง
คน
จำนวนคนไร้สัญชาติที่ไม่เข้าถึงสิทธิประกันสุขภาพลดลง
จำนวนครัวเรือนที่ยากจนลงจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล (medical impoverishment) ลดลง
ครัวเรือน
อัตราการเจ็บป่วยของผู้ใกล้ชิดผู้ป่วย
คน
ขอบคุณที่ทำแบบเรียนรู้
กรุณาระบุชื่อและอีเมลของท่าน เพื่อรับผลลัพธ์และนิยามตัวชี้วัดแนะนำฉบับเต็ม
ส่งผลลัพธ์เรียบร้อย
ระบบได้ทำการส่งผลลัพธ์และนิยามตัวชี้วัดแนะนำฉบับเต็ม ไปที่อีเมลของคุณเรียบร้อยแล้ว